วิเคราะห์ หลังเกม 5 ประเด็นเจ๊า เรือ-หงส์

วิเคราะห์ 5 เรื่องที่น่าสนใจประจำแมตช์นี้ คู่บิ๊กแมตช์ประจำสัปดาห์ที่ 8 ผ่านไป มาวิเคราะห์กันว่ามีประเด็นไหนบ้างน่าสนใจ

หลังจากจำสัปดาห์ที่ 8 ผ่านไป มา วิเคราะห์ กัน

วิเคราะห์  5  เรื่องที่น่าสนใจประจำแมตช์นี้

1. หมดสิ้นแล้วความหวาดกลัวที่มีต่อเรือใบ
กุนซือใหญ่ เฮฟวี่ เมทัล ขวัญใจสาวกลิเวอร์พูล สร้างความประหลาดใจ ให้กับนัก วิเคราะห์ ทั้งหลายที่มีความเห็นเรื่อง ความเหมาะสมของตำแหน่ง กองหน้าระหว่างบ๊อบบี้เฟอร์มิโน่ และ เดียโก โชต้า โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเล่น ให้มีผู้เล่นในเกมบุกถึง 4 คน โดยใช้แผนการเล่น แบบ 4-4-2  หรือ อาจปรับเป็น 4-2-3-1 โดยผลัดกันทำหน้าที่ตำแหน่ง กองหน้าตามสไตล์ ที่ตัวเองถนัด และยังสามารถเปลี่ยนตำแหน่ง มาเป็นกลางรุกได้
แม้จะส่งกองหน้าลงมากถึง 4 คน แต่ในด้านของเกมรับ ก็ไม่ได้ส่งผลเสียเลย แม้แต่นิดเดียว พวกเขาสามารถช่วยกันเล่นทั้งเกมรุก และเกมรับ ได้อย่างยอดเยี่ยม ตลอดทั้งเกม

2.ปิดการตั้งเกมจากแดนกลางของแมนซิตี้
การที่มีผู้เล่นกองหน้ามากถึง 4 คน ที่ช่วยเล่นในเกมรับได้ทำให้การเซ็ตเกมจาก แดนกลางของแมนซิตี้นั้น ต้องเจอกับความยากลำบากเป็นอย่างมาก จะเห็นได้ว่าผู้เล่นแดนกลาง ของ city ถูกบังทัศนวิสัยในการส่งบอล ทำให้ไม่สามารถเซทเกม ไปถึงแดนหน้าได้ และต้องเปลี่ยนแผนการเล่นเป็นการโยนยาว ไปให้ริมเส้นทั้ง 2 ฝั่ง ทำให้ต้องเดินหน้าวิ่งไล่บอลกันไป ซึ่งจากในเกมนี้ ราฮีม สเตอร์ลิ่ง และกาเบรียล เชซุส ยังไม่สามารถจับบอลได้ดีเหมือนเคยทำให้จบสกอร์ ได้ยากยิ่งขึ้นอีกด้วย

3.จุดผิดพลาดเล็กๆสู่การเสียประตู
จากการที่ใช้แผน 4-4-2 ของลิเวอร์พูลเมื่อ เฟอร์มิโน่ กับโมฮาเหม็ด ซาลาห์ ลงมาช่วยในเกมแดนกลางทำให้กองกลางธรรมชาติ เพียง 2 คน ต้องทำงานหนักขึ้น เพราะมีพื้นที่รับผิดชอบมากกว่าเดิม ในเกมจะมีจังหวะที่ โรดี้ โยนบอลเปลี่ยนแกนจากฝั่งซ้าย ข้ามไปทางขวาในขณะเดียวกันนั้นที่นี่ไวนัลดุม ที่กำลังประกบผู้เล่นแมนซิตี้คนอื่นอยู่ต้องเข้ามาบีบกระชับพื้นที่ทางฝั่งซ้าย เพื่อลดโอกาสในการส่งบอล ส่งผลให้เกิดช่องว่างในการส่งบอลมากเกินไป เมื่อเควินเดอะบอยเห็นพื้นที่ว่าง จึงเกิดเป็นโอกาสการสร้างสรรค์เกมรุก แทงบอลให้กาเบรียลเชซุสหลุดเข้าไปในกรอบเขตโทษยิงประตูตุงตาข่าย ไปอย่างสวยงาม

4.คู่เซ็นเตอร์แบ็คที่ไม่น่าเป็นห่วง
ในช่วงที่ทีมยังขาด ฟานไดค์ จากอาการบาดเจ็บที่ส่งผลให้ต้องพักยาว กองหลังที่จะทำหน้าที่แทนนั้นก็มีเพียงแค่ โจเอล มาติป และ โจ โกเมซ ที่สลัดอาการบาดเจ็บทิ้งและกลับมาช่วยทีมได้ จะเห็นได้ว่าในเกมนี้ ไม่ได้มีจังหวะผิดพลาดอะไรให้เห็นมากนัก และยังสามารถจัดการกับ ราฮีม สเตอร์ลิ่ง และกาเบรียล เชซุส ได้อย่างง่ายดาย มีเพียงช็อตที่เสี่ยประตูความเด็ดขาดของกาเบรียลเชซุสที่เอาชนะแนวรับไปได้ แต่ก็ไม่อาจจะโทษว่า เป็นความผิดพลาดจากกองหลังได้ทั้งหมด

5.เส้นทางของหงส์แดงและเรือใบสีฟ้า
หลังจากผ่านสัปดาห์ที่ 8 ของ ซีซั่นนี้ไปแล้ว ภายใต้การกุมบังเหียนของ กุนซือสายเฮฟวี่ เมทัล รั้งอยู่อันดับที่ 3 โดยมีแต้มตามอันดับที่ 1 อย่างเลสเตอร์ซิตี้เพียง 1 คะแนน ในขณะที่ทีมขาดนักเตะหลักอย่าง ฟาน ไดค์ และไม่มีนักเตะสำรองมากนัก ยังต้องมาลุ้นกับแบ็คขวาตัวเก่งอย่าง เทรน อเล็กซานเดอร์ อาร์โนล ที่มีอาการเจ็บกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง ในเกมนี้อีก ถือเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่เจอเก้นคอปป์ ต้องผ่านมันไปให้ได้ ในแง่ดี นักเตะใหม่ที่ซื้อมาอย่างโชต้า ก็มีฟอร์มที่ดีวันดีคืน เป็นโอกาสที่จะได้สร้างสรรค์เกมรุกแบบใหม่ๆ ได้มากยิ่งขึ้น

ในด้านของเรือใบสีฟ้า แมนเชสเตอร์ซิตี้ ดูมีรูปเกมที่ดีขึ้นหลังจากที่ได้ตัว กาเบรียล เชซุส กลับคืนสนาม แม้ว่าจะยังไร้เงาของเซร์คิโอ อาเกวโร ดาวยิงตัวเก่งอยู่ก็ตามโดยนับเป็นเกมที่ 2 ของ กาเบรียล เชซุส ที่โชว์ฟอร์มได้ดี

  • อ่านบทความข่าวกีฬา : บทความ : คู่เดือด พรีเมียร์ลีก อังกฤษ ประจำวัน
  • อ่านข่าวกีฬาอื่นๆ เพิ่มเติม
  • ติดตามพวกเราในช่องทาง Facebook : Ufaextrasport

(อังกฤษ: Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร[1] ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี ค.ศ. 2008 มีระวางขับน้ำรวมทั้งสิ้น 309.6 ล้านตัน (คิดเป็นประมาณ 40 ลำต่อวัน ประมาณร้อยละ 5 ของเรือบรรทุกสินค้าทั่วโลก) แนวความคิดในการขุดคลองปานามามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างครั้งแรกในปี ค.ศ. 1880 โดยบริษัทสัญชาติฝรั่งเศสภายใต้การบริหารของนายแฟร์ดินองด์ เดอ เลสเซ็ปส์ แต่ก็ล้มเหลวไป มีคนงานกว่า 21,900 คนเสียชีวิต มักมีสาเหตุจากโรคระบาด (มาลาเรียหรือไข้เหลือง) และดินถล่ม จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้ามาดำเนินงานต่อ โดยมีผู้เสียชีวิตราว 5,600 คน จนกระทั่งสามารถเปิดใช้งานได้เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1914 นับเป็นหนึ่งในโครงการวิศวกรรมที่ใหญ่ที่สุดและยากลำบากที่สุดที่เคยมีมา

ฟุตบอลยูโรปา ลีกวามคิดในเรื่อ

หลักฐานที่มีการอ้างถึงคอคอดในอเมริกากลาง ย้อนไปเมื่อปี ค.ศ. 1524 เมื่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และกษัตริย์แห่งสเปนพระองค์หนึ่ง มีพระนามว่า จักรพรรดิชาลส์ที่ 5 ได้ทรงแนะนำว่า การสร้างคลองผ่านปานามาจะสร้างความสะดวกในการเดินเรือสัญจรไปมาระหว่างสเปนกับเปรู[3] รวมไปถึงสร้างความได้เปรียบทางยุทธวิธีเหนือโปรตุเกส[4] ระหว่างการสำรวจโดยคณะสำรวจของพระองค์ระหว่างปี ค.ศ. 1788-1793 โดย อเลสซานโดร มาลาสปินาได้เสนอความเป็นไปได้และวางแผนโครงสร้างของคลอง[5] อเมริกากลางถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ คือเป็นแผ่นดินที่มีลักษณะแคบ แบ่งโดยมหาสมุทรขนาดใหญ่ 2 มหาสมุทร ความพยายามที่จะเชื่อมการค้าเกิดขึ้นมานานหลายปีแล้วในบริเวณนี้ ในปี ค.ศ. 1698 สกอตแลนด์ได้พยายามเข้ามาตั้งฐานการค้าบริเวณคอคอดปานามา โดยใช้แผนดารีเอน แต่เนื่องจากเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ในที่สุดก็ได้ออกจากปานามาไปในปี ค.ศ. 1700[6] และในที่สุดการรถไฟในปานามาก็ได้เกิดขึ้นเพื่อข้ามคอคอดนี้ได้เปิดใช้ในปี ค.ศ. 1855 เส้นทางสัญจรนี้ได้เอื้อหนุนให้การค้ามีความสะดวกขึ้น และเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญของการเลือกสร้างคลองเชื่อมคอคอดปานามาในภายหลัง

ดขึ้นอยู่หลายครั้ง

การรื้อฟื้นแนวความคิดในเรื่องการเชื่อมทางน้ำต่อกันระหว่างมหาสมุทรทั้ง 2 มหาสมุทรเกิดขึ้นอยู่หลายครั้งหลายครา อย่างทางเชื่อมผ่านนิการากัวก็ได้มีการสำรวจอยู่บ่อยครั้ง รวมทั้งคลองปานามา เองเป็นหนึ่งในสองโครงการขุดคลองที่เคยดำริมาตั้งแต่ยุคสเปนเรืองอำนาจคริสต์ศตวรรษที่ 16 แล้ว[7] จนในที่สุด การประสบความสำเร็จของการสร้างคลองสุเอซ รัฐบาลโคลอมเบียได้ให้สัมปทานกับนักผจญภัยชาวฝรั่งเศสชื่อ ลูเซียง นโปเลียน โบนาปาร์ต ไวส์ ในการขุดคลองซึ่งจะเชื่อมระหว่างสองมหาสมุทรในบริเวณจังหวัดปานามา และเขาได้ขายสัมปทานต่อให้กับบริษัทฝรั่งเศสที่บริหารโดยนายแฟร์ดีนอง เดอ เลสเซป ซึ่งดำเนินการขุดคลองปานามาในทันที[8] เขาได้เริ่มขุดคลองจากระดับน้ำทะเล (โดยไม่มีประตูกั้นน้ำ) เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1880 บริษัทฝรั่งเศสได้ทำงานอย่างรีบเร่งโดยขาดการศึกษาที่เพียงพอทั้งทางด้านภูมิประเทศและอุทกวิทยา[9] อีกทั้งโรคภัยไข้เจ็บในภูมิอากาศเขตร้อนที่คนงานก่อสร้างคลองต้องเผชิญทั้งโรคไข้เหลืองและมาลาเรีย คร่าชีวิตคนงานเป็นจำนวนมากและทำให้การก่อสร้างไม่คืบหน้าเท่าที่ควร[8] เป็นเหตุให้คนงานต่างหวาดกลัวและหนีกลับฝรั่งเศส[9] ในปี ค.ศ. 1883 บริษัทฝรั่งเศสที่ได้สัมปทานไม่สามารถทำงานต่อได้ เนื่องจากโรคภัยไข้เจ็บและความลำบากในการขุดคลองในระดับน้ำทะเล การขาดประสบการณ์ภาคสนามของคนงาน อย่างเช่น การเก็บเครื่องมือที่เจอห่าฝนไม่ดี ทำให้เกิดสนิมจับ[10] แต่ปัญหาหลักคือค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จากโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้น นับจำนวนคนที่เสียชีวิตระหว่างการขุดคลองปานามา (ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1881 – 1889) ได้กว่า 22,000 คน[9] จากหนังสือ Overthrow ของสตีเฟน คินเซอร์ในปี ค.ศ. 2006 ได้กล่าวไว้ว่าในปี ค.ศ. 1898 หัวหน้าคนหนึ่งในองค์การเกี่ยวกับคลองของฝรั่งเศส คือ ฟีลีป-ชอง บูโน-วารียา ได้จ้างวิลเลียม เนลสัน ครอมเวลล์ เพื่อโกงจากสภาคองเกรสของอเมริกา ที่จะสร้างคลองปานามา ไม่ใช่คลองที่ข้ามจากนิการากัว[11] โดยสหรัฐอเมริกาได้เจรจากับรัฐบาลโคลอมเบียว่า หากสหรัฐอเมริกาลงทุนขุดคลองแล้วก็ขอให้สหรัฐอเมริกาเช่าพื้นที่บริเวณนั้นเพื่อดำเนินการควบคุมการเข้าออกของเรือที่ผ่านคลอง แต่การตกลงเรื่องราคาค่าเช่าที่ไม่ลงตัว รัฐบาลโคลอมเบียไม่ตกลงกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ซึ่งขณะนั้นชาวปานามากลัวว่าโคลอมเบียจะไม่แบ่งผลประโยชน์ให้เท่าที่พวกตนควรได้ จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นและประกาศตัวเป็นประเทศเอกราช ซึ่งสหรัฐอเมริกาเองได้รับรองการเป็นเอกราชของปานามา และยังได้ช่วยไม่ให้โคลอมเบียยกกองทหารเข้ามาปราบปรามชาวปานามา จนในที่สุดสหรัฐอเมริกาได้ทำสัญญากับปานามาในปี ค.ศ. 1903[12] โดยปานามายกกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นระยะทางกว้าง 10 กิโลเมตร ตลอดแนวทางที่สหรัฐอเมริกาจะขุดคลอง และรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ดำเนินการบริหารเป็นสิทธิขาดตลอดไป โดยสหรัฐอเมริกาจะจ่ายเงินตอบแทนให้ปานามาเป็นจำนวนเงิน 10 ล้านดอลลาร์ และจะให้เป็นประจำทุกปี อีกปีละ 250,000 ดอลลาร์[8] ส่วนสหรัฐอเมริกาก็ได้จ่ายเงินให้แก่โคลอมเบียเป็นเงิน 25 ล้านดอลล่าร์ในปี ค.ศ. 1921 และรัฐบาลโคลอมเบียรับรองความเป็นเอกราชของปานามาในสนธิสัญญาธอมสัน-อูรูเตีย

ชอบกดไลค์ ใช่กดแชร์… สนับสนุนผู้เขียนครับ 🙂