พรีวิวคู่เดือด : เบลเยียม พบ เดนมาร์ก

ยูฟ่า เนชันส์ลีก ลีกเอ วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน 2563 เวลาแข่งขัน : 02.45 น. เบลเยียม พบ เดนมาร์ก

พรีวิวคู่เดือด : เบลเยียม พบ เดนมาร์ก

ประเภท : ยูฟ่า เนชันส์ลีก ลีกเอ

แข่งขันในวัน : วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน 2563

เวลาแข่งขัน : 02.45 น.

คู่ที่ทำการแข่งขัน : ทีมชาติเบลเยียม พบ ทีมชาติเดนมาร์ก

สนาม : คิง พาวเวอร์ แอท แดน ดรีฟ

ความเคลื่อนไหวภายในทีม

ทีมชาติเบลเยียม

เจ้าบ้านมาด้วยความมั่นใจอย่างเต็มเปี่ยม เพราะพึ่งอัดสิงโตคำราม  2 ประตูต่อ 0  ในนัดที่เพิ่งผ่านมาทำให้พวกเขามั่นใจสุดๆ ยึดตำแหน่งหัวตารางเอาไว้ได้ เพราะฉะนั้นมา 4 เกมส์ติด เหลือเกมการเล่นอีกแค่เพียงเกมเดียว และจะมีความได้เปรียบในรอบถัดไป ถ้าสามารถรั้งตำแหน่งจ่าฝูงต่อไปไว้ได้ ในเกมนี้ มาร์ติเนซ แม่ทัพใหญ่ของเบลเยี่ยม จะขาดผู้เล่นตัวหลักไปบ้าง ด้วยอาการบาดเจ็บ และการตรวจพบเชื้อไวรัสโควิด- 19  แต่ก็ไม่น่าเป็นห่วงนะเพราะได้นักเตะบางคนกลับมาจากอาการบาดเจ็บเช่นกัน ในเกมนี้ อาจจะนำทัพด้วย โรเมโร่ ลูกากู,เควินเดอะบอย, โทบี อัลเดอร์ไวเรลด์, และที่โบว์ กูร์ตัวเป็นต้น

ทีมชาติเดนมาร์ก

ทางด้านของเดนมาร์กเอง ก็มีสถิติ ที่ไม่เป็นรอง เพราะเพิ่งเฉือนชนะไอซ์แลนด์ ไป 2 ประตูต่อ 1  จากการจบสกอร์ของ คริสเตียน อิเล็กเซ่น เพียงคนเดียว รั้งตำแหน่งรองจ่าฝูง และยังมีลุ้นตำแหน่งหัวตาราง เพื่อทะลุเข้าไปเล่นในรอบถัดไป โดยมีแต้มตามหลังเบลเยี่ยม อยู่แค่ 2 คะแนน และในด้านของผู้เล่น ก็ไม่ได้มีปัญหา ผู้เล่นติดโทษแบน หรือมีอาการบาดเจ็บมารบกวน

ผู้เล่นที่คาดว่าจะลงสนามในคืนนี้

ทีมชาติเบลเยียม (3-4-3)

นายด่าน – ติโบต์ กูร์กตัวส์

แผงหลัง – โทบี้ อัลเดอร์ไวเรลด์, เจสัน เดนาเยอร์, แยน แฟร์ต็องเก้น

แผงกองกลาง – โธมัส มูนิเยร์, อั๊กเซล วิตเซล, ยูริ ตีเลอมองส์, ธอร์ก็อง อาซาร์

ตัวรุก  – เควิน เดอ บรอยน์, ดรีส เมอร์เท่นส์, โรเมลู ลูกากู

 

ทีมชาติเดนมาร์ก (4-4-2)

นายด่าน – ฮันเนส ธอร์ ฮัลล์ดอร์สสัน

แผงหลัง –  ฮอร์เตอร์ เฮอร์มันน์สสัน, คารี อาร์นาสัน, รักนาร์ ซิเกิร์ดส์สัน, ฮอร์ดู บียอร์กวิน มักนุสสัน

แผงกองกลาง – โยฮันน์ เบิร์ก กุ๊ดมุนด์สัน, อารอน กุนนาร์สสัน, กิลฟี่ ซิเกิร์ดส์สัน, อาร์เนอร์ ทรอสตาสัน

ตัวรุก  –  อัลเฟร็ด ฟินน์โบกาสัน, โคลเบอินน์ ซิกธอร์สสัน

สกอร์ที่คาด : ศึกชิงจ่าฝูง เพื่ออนาคตที่ดีกว่า เบลเยียม 1-1 เดนมาร์ก

  • อ่านบทความข่าวกีฬา :ทำไม เด เคอา โดน ดร๊อป
  • อ่านข่าวกีฬาอื่นๆ เพิ่มเติม
  • ติดตามพวกเราในช่องทาง Facebook : Ufaextrasport

(อังกฤษ: Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร[1] ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี ค.ศ. 2008 มีระวางขับน้ำรวมทั้งสิ้น 309.6 ล้านตัน (คิดเป็นประมาณ 40 ลำต่อวัน ประมาณร้อยละ 5 ของเรือบรรทุกสินค้าทั่วโลก) แนวความคิดในการขุดคลองปานามามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างครั้งแรกในปี ค.ศ. 1880 โดยบริษัทสัญชาติฝรั่งเศสภายใต้การบริหารของนายแฟร์ดินองด์ เดอ เลสเซ็ปส์ แต่ก็ล้มเหลวไป มีคนงานกว่า 21,900 คนเสียชีวิต มักมีสาเหตุจากโรคระบาด (มาลาเรียหรือไข้เหลือง) และดินถล่ม จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้ามาดำเนินงานต่อ โดยมีผู้เสียชีวิตราว 5,600 คน จนกระทั่งสามารถเปิดใช้งานได้เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1914 นับเป็นหนึ่งในโครงการวิศวกรรมที่ใหญ่ที่สุดและยากลำบากที่สุดที่เคยมีมา

ฟุตบอลยูโรปา ลีกวามคิดในเรื่อ

หลักฐานที่มีการอ้างถึงคอคอดในอเมริกากลาง ย้อนไปเมื่อปี ค.ศ. 1524 เมื่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และกษัตริย์แห่งสเปนพระองค์หนึ่ง มีพระนามว่า จักรพรรดิชาลส์ที่ 5 ได้ทรงแนะนำว่า การสร้างคลองผ่านปานามาจะสร้างความสะดวกในการเดินเรือสัญจรไปมาระหว่างสเปนกับเปรู[3] รวมไปถึงสร้างความได้เปรียบทางยุทธวิธีเหนือโปรตุเกส[4] ระหว่างการสำรวจโดยคณะสำรวจของพระองค์ระหว่างปี ค.ศ. 1788-1793 โดย อเลสซานโดร มาลาสปินาได้เสนอความเป็นไปได้และวางแผนโครงสร้างของคลอง[5] อเมริกากลางถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ คือเป็นแผ่นดินที่มีลักษณะแคบ แบ่งโดยมหาสมุทรขนาดใหญ่ 2 มหาสมุทร ความพยายามที่จะเชื่อมการค้าเกิดขึ้นมานานหลายปีแล้วในบริเวณนี้ ในปี ค.ศ. 1698 สกอตแลนด์ได้พยายามเข้ามาตั้งฐานการค้าบริเวณคอคอดปานามา โดยใช้แผนดารีเอน แต่เนื่องจากเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ในที่สุดก็ได้ออกจากปานามาไปในปี ค.ศ. 1700[6] และในที่สุดการรถไฟในปานามาก็ได้เกิดขึ้นเพื่อข้ามคอคอดนี้ได้เปิดใช้ในปี ค.ศ. 1855 เส้นทางสัญจรนี้ได้เอื้อหนุนให้การค้ามีความสะดวกขึ้น และเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญของการเลือกสร้างคลองเชื่อมคอคอดปานามาในภายหลัง

ดขึ้นอยู่หลายครั้ง

การรื้อฟื้นแนวความคิดในเรื่องการเชื่อมทางน้ำต่อกันระหว่างมหาสมุทรทั้ง 2 มหาสมุทรเกิดขึ้นอยู่หลายครั้งหลายครา อย่างทางเชื่อมผ่านนิการากัวก็ได้มีการสำรวจอยู่บ่อยครั้ง รวมทั้งคลองปานามา เองเป็นหนึ่งในสองโครงการขุดคลองที่เคยดำริมาตั้งแต่ยุคสเปนเรืองอำนาจคริสต์ศตวรรษที่ 16 แล้ว[7] จนในที่สุด การประสบความสำเร็จของการสร้างคลองสุเอซ รัฐบาลโคลอมเบียได้ให้สัมปทานกับนักผจญภัยชาวฝรั่งเศสชื่อ ลูเซียง นโปเลียน โบนาปาร์ต ไวส์ ในการขุดคลองซึ่งจะเชื่อมระหว่างสองมหาสมุทรในบริเวณจังหวัดปานามา และเขาได้ขายสัมปทานต่อให้กับบริษัทฝรั่งเศสที่บริหารโดยนายแฟร์ดีนอง เดอ เลสเซป ซึ่งดำเนินการขุดคลองปานามาในทันที[8] เขาได้เริ่มขุดคลองจากระดับน้ำทะเล (โดยไม่มีประตูกั้นน้ำ) เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1880 บริษัทฝรั่งเศสได้ทำงานอย่างรีบเร่งโดยขาดการศึกษาที่เพียงพอทั้งทางด้านภูมิประเทศและอุทกวิทยา[9] อีกทั้งโรคภัยไข้เจ็บในภูมิอากาศเขตร้อนที่คนงานก่อสร้างคลองต้องเผชิญทั้งโรคไข้เหลืองและมาลาเรีย คร่าชีวิตคนงานเป็นจำนวนมากและทำให้การก่อสร้างไม่คืบหน้าเท่าที่ควร[8] เป็นเหตุให้คนงานต่างหวาดกลัวและหนีกลับฝรั่งเศส[9] ในปี ค.ศ. 1883 บริษัทฝรั่งเศสที่ได้สัมปทานไม่สามารถทำงานต่อได้ เนื่องจากโรคภัยไข้เจ็บและความลำบากในการขุดคลองในระดับน้ำทะเล การขาดประสบการณ์ภาคสนามของคนงาน อย่างเช่น การเก็บเครื่องมือที่เจอห่าฝนไม่ดี ทำให้เกิดสนิมจับ[10] แต่ปัญหาหลักคือค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จากโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้น นับจำนวนคนที่เสียชีวิตระหว่างการขุดคลองปานามา (ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1881 – 1889) ได้กว่า 22,000 คน[9] จากหนังสือ Overthrow ของสตีเฟน คินเซอร์ในปี ค.ศ. 2006 ได้กล่าวไว้ว่าในปี ค.ศ. 1898 หัวหน้าคนหนึ่งในองค์การเกี่ยวกับคลองของฝรั่งเศส คือ ฟีลีป-ชอง บูโน-วารียา ได้จ้างวิลเลียม เนลสัน ครอมเวลล์ เพื่อโกงจากสภาคองเกรสของอเมริกา ที่จะสร้างคลองปานามา ไม่ใช่คลองที่ข้ามจากนิการากัว[11] โดยสหรัฐอเมริกาได้เจรจากับรัฐบาลโคลอมเบียว่า หากสหรัฐอเมริกาลงทุนขุดคลองแล้วก็ขอให้สหรัฐอเมริกาเช่าพื้นที่บริเวณนั้นเพื่อดำเนินการควบคุมการเข้าออกของเรือที่ผ่านคลอง แต่การตกลงเรื่องราคาค่าเช่าที่ไม่ลงตัว รัฐบาลโคลอมเบียไม่ตกลงกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ซึ่งขณะนั้นชาวปานามากลัวว่าโคลอมเบียจะไม่แบ่งผลประโยชน์ให้เท่าที่พวกตนควรได้ จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นและประกาศตัวเป็นประเทศเอกราช ซึ่งสหรัฐอเมริกาเองได้รับรองการเป็นเอกราชของปานามา และยังได้ช่วยไม่ให้โคลอมเบียยกกองทหารเข้ามาปราบปรามชาวปานามา จนในที่สุดสหรัฐอเมริกาได้ทำสัญญากับปานามาในปี ค.ศ. 1903[12] โดยปานามายกกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นระยะทางกว้าง 10 กิโลเมตร ตลอดแนวทางที่สหรัฐอเมริกาจะขุดคลอง และรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ดำเนินการบริหารเป็นสิทธิขาดตลอดไป โดยสหรัฐอเมริกาจะจ่ายเงินตอบแทนให้ปานามาเป็นจำนวนเงิน 10 ล้านดอลลาร์ และจะให้เป็นประจำทุกปี อีกปีละ 250,000 ดอลลาร์[8] ส่วนสหรัฐอเมริกาก็ได้จ่ายเงินให้แก่โคลอมเบียเป็นเงิน 25 ล้านดอลล่าร์ในปี ค.ศ. 1921 และรัฐบาลโคลอมเบียรับรองความเป็นเอกราชของปานามาในสนธิสัญญาธอมสัน-อูรูเตีย การ กลับ มา ของ ผู้ จัด การ ทีม ชื่อ ดัง อย่าง เจอร์ เก้น คล๊อป ก็ สา มา รถ มอง ได้ ว่า เป็น เรื่อง ที่ ดี

ชอบกดไลค์ ใช่กดแชร์… สนับสนุนผู้เขียนครับ 🙂