อดีต ตำนาน กองหลังหงส์แดงลิเวอร์พูล จวก ป๊อกบา
อดีต ตำนาน กองหลังหงส์แดงลิเวอร์พูล ที่ปัจจุบัน ผันตัวไปเป็นกูรูฟุตบอล ฝีปากกล้า แห่งวงการศึกพรีเมียร์ลีก ให้ความเห็นว่า manchester united ถึงเวลาที่จะต้องปล่อยกองกลางตัวเก่งอยากป๊อกบา ออกจากทีมและนำเงินไปซื้อผู้เล่นใหม่ หลังจากที่ฟอร์มของเจ้าตัวไม่ค่อยสู้ดีนัก และเป็นที่วิจารณ์อย่างหนัก ในช่วงที่ผ่านมา ตามรายงานจาก talk sport
กองกลางทีมชาติฝรั่งเศสตัวเก่งอย่างป๊อกบา ย้ายจากทีมม้าลายดำขาวยูเวนตุส มาสู่โรงละครแห่งความฝันด้วยค่าตัว 89 ล้านปอนด์ ตั้งแต่ปี 2016 ที่ผ่านมาเจ้าตัว ไม่ได้โชว์ฟอร์มได้ดีอย่างเดิม มาอย่างต่อเนื่อง และมีหลายครั้งที่ถูกจับเป็นผู้เล่นตัวสำรอง อย่างในเกมที่แมนยูบุกไปเอาชนะเอฟเวอร์ตัน 3-1 ในศึกพรีเมียร์ลีกสัปดาห์ที่ผ่านมา เจมี่ คาร์ราเกอร์ ให้ความเห็นไว้ว่า ทีมปีศาจแดงไม่ควรที่จะเก็บผู้เล่นรายนี้ เอาไว้อีกต่อไป เพราะเจ้าตัวไม่สามารถโชว์ฟอร์มที่ดีออกมาได้
“เข้าโชว์ฟอร์มได้ไม่ดีเลย ไม่ว่าจะอยู่ในตำแหน่งไหน หรือผู้จัดการทีมจะใช้แทคติกไหนก็ตาม ถ้าถามผมว่าเขายังสมควรอยู่ในทีม แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดหรือไม่ ผมคงตอบว่าไม่ เขามีชื่อเสียงก็จริง ค่าตัวเขายังสูงมาก แต่เขาอาจจะไม่ใช่ผู้เล่นที่ยอดเยี่ยม” เจมี่คาร์ราเกอร์กล่าวเปิด
“ใครๆก็บอกว่าเขาเป็นนักเตะระดับแชมป์โลก ผมก็พอเข้าใจได้ แต่เมื่อมาอยู่ในทีม เขาก็ควรยกระดับคุณภาพทีมด้วย ดูอย่างที่ แฟรงค์ แลมพาร์ด ทำกับเชลซี สตีเว่น เจอร์ราด ทำกับลิเวอร์พูล ยาย่า ตูเร่ทำกับแมนเชสเตอร์ซิตี้ พวกเขาเหล่านี้ต่างพาทีมคว้าแชมป์ต่างๆทั้งในเกาะอังกฤษ หรือในถ้วยยุโรปอย่างมากมาย”
“เมื่อคุณถูกมอง หรือถูกคาดหวังว่าจะเป็นผู้ที่เข้ามายกระดับทีม อย่างแมนยู มันอาจถูกมองว่าเป็นแรงกดดันอย่างมหาศาลกับคนคนนึง มันก็เป็นสิ่งที่เราจะรับรู้ได้ แต่มันก็ไม่ได้เกิดขึ้นกับสโมสรแมนยูไนเต็ด ซึ่งในความคิดผมผมก็ยืนยันเหมือนเดิมว่า ถ้าเป็นผม ผมคงไม่เลือกเขาไว้อยู่ในทีม ผมเลือกที่จะขายป๊อกบาร์ และนำเงินเข้าทีมเพื่อไปทำอย่างอื่นดีกว่า” เจมี่คาร์ราเกอร์กล่าวปิดท้าย
ทุกคนก็คงพอจะเห็นได้ว่า ฟอร์มการเล่นของป๊อกบาไม่ได้ดีเหมือนเดิม ยิ่งช่วงหลังถูกวิจารณ์ฟอร์มการเล่นอย่างหนักก็ขึ้นอยู่กับว่าการตัดสินใจของผู้จัดการทีมอย่างโซลชาจะมีความคิดเห็นอย่างไรกับเรื่องนี้
- อ่านบทความข่าวกีฬา : อยากเห็น เมอร์ฟีย์อยากให้ อลาบาย้ายซบหงส์
- อ่านข่าวกีฬาอื่นๆ เพิ่มเติม
- ติดตามพวกเราในช่องทาง Facebook : Ufaextrasport
<div id=”spoiler”>
(อังกฤษ: Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร[1] ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี ค.ศ. 2008 มีระวางขับน้ำรวมทั้งสิ้น 309.6 ล้านตัน (คิดเป็นประมาณ 40 ลำต่อวัน ประมาณร้อยละ 5 ของเรือบรรทุกสินค้าทั่วโลก)
แนวความคิดในการขุดคลองปานามามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างครั้งแรกในปี ค.ศ. 1880 โดยบริษัทสัญชาติฝรั่งเศสภายใต้การบริหารของนายแฟร์ดินองด์ เดอ เลสเซ็ปส์ แต่ก็ล้มเหลวไป มีคนงานกว่า 21,900 คนเสียชีวิต มักมีสาเหตุจากโรคระบาด (มาลาเรียหรือไข้เหลือง) และดินถล่ม จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้ามาดำเนินงานต่อ โดยมีผู้เสียชีวิตราว 5,600 คน จนกระทั่งสามารถเปิดใช้งานได้เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1914 นับเป็นหนึ่งในโครงการวิศวกรรมที่ใหญ่ที่สุดและยากลำบากที่สุดที่เคยมีมา
<h4 class=”has-text-align-center”><strong>ฟุตบอลยูโรปา ลีกวามคิดในเรื่อ</strong></h4>
หลักฐานที่มีการอ้างถึงคอคอดในอเมริกากลาง ย้อนไปเมื่อปี ค.ศ. 1524 เมื่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และกษัตริย์แห่งสเปนพระองค์หนึ่ง มีพระนามว่า จักรพรรดิชาลส์ที่ 5 ได้ทรงแนะนำว่า การสร้างคลองผ่านปานามาจะสร้างความสะดวกในการเดินเรือสัญจรไปมาระหว่างสเปนกับเปรู[3] รวมไปถึงสร้างความได้เปรียบทางยุทธวิธีเหนือโปรตุเกส[4] ระหว่างการสำรวจโดยคณะสำรวจของพระองค์ระหว่างปี ค.ศ. 1788-1793 โดย อเลสซานโดร มาลาสปินาได้เสนอความเป็นไปได้และวางแผนโครงสร้างของคลอง[5]
อเมริกากลางถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ คือเป็นแผ่นดินที่มีลักษณะแคบ แบ่งโดยมหาสมุทรขนาดใหญ่ 2 มหาสมุทร ความพยายามที่จะเชื่อมการค้าเกิดขึ้นมานานหลายปีแล้วในบริเวณนี้ ในปี ค.ศ. 1698 สกอตแลนด์ได้พยายามเข้ามาตั้งฐานการค้าบริเวณคอคอดปานามา โดยใช้แผนดารีเอน แต่เนื่องจากเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ในที่สุดก็ได้ออกจากปานามาไปในปี ค.ศ. 1700[6] และในที่สุดการรถไฟในปานามาก็ได้เกิดขึ้นเพื่อข้ามคอคอดนี้ได้เปิดใช้ในปี ค.ศ. 1855 เส้นทางสัญจรนี้ได้เอื้อหนุนให้การค้ามีความสะดวกขึ้น และเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญของการเลือกสร้างคลองเชื่อมคอคอดปานามาในภายหลัง
<h4 class=”has-text-align-center”><strong>ดขึ้นอยู่หลายครั้ง</strong></h4>
การรื้อฟื้นแนวความคิดในเรื่องการเชื่อมทางน้ำต่อกันระหว่างมหาสมุทรทั้ง 2 มหาสมุทรเกิดขึ้นอยู่หลายครั้งหลายครา อย่างทางเชื่อมผ่านนิการากัวก็ได้มีการสำรวจอยู่บ่อยครั้ง รวมทั้งคลองปานามา เองเป็นหนึ่งในสองโครงการขุดคลองที่เคยดำริมาตั้งแต่ยุคสเปนเรืองอำนาจคริสต์ศตวรรษที่ 16 แล้ว[7] จนในที่สุด การประสบความสำเร็จของการสร้างคลองสุเอซ รัฐบาลโคลอมเบียได้ให้สัมปทานกับนักผจญภัยชาวฝรั่งเศสชื่อ ลูเซียง นโปเลียน โบนาปาร์ต ไวส์ ในการขุดคลองซึ่งจะเชื่อมระหว่างสองมหาสมุทรในบริเวณจังหวัดปานามา และเขาได้ขายสัมปทานต่อให้กับบริษัทฝรั่งเศสที่บริหารโดยนายแฟร์ดีนอง เดอ เลสเซป ซึ่งดำเนินการขุดคลองปานามาในทันที[8] เขาได้เริ่มขุดคลองจากระดับน้ำทะเล (โดยไม่มีประตูกั้นน้ำ) เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1880 บริษัทฝรั่งเศสได้ทำงานอย่างรีบเร่งโดยขาดการศึกษาที่เพียงพอทั้งทางด้านภูมิประเทศและอุทกวิทยา[9] อีกทั้งโรคภัยไข้เจ็บในภูมิอากาศเขตร้อนที่คนงานก่อสร้างคลองต้องเผชิญทั้งโรคไข้เหลืองและมาลาเรีย คร่าชีวิตคนงานเป็นจำนวนมากและทำให้การก่อสร้างไม่คืบหน้าเท่าที่ควร[8] เป็นเหตุให้คนงานต่างหวาดกลัวและหนีกลับฝรั่งเศส[9] ในปี ค.ศ. 1883 บริษัทฝรั่งเศสที่ได้สัมปทานไม่สามารถทำงานต่อได้ เนื่องจากโรคภัยไข้เจ็บและความลำบากในการขุดคลองในระดับน้ำทะเล การขาดประสบการณ์ภาคสนามของคนงาน อย่างเช่น การเก็บเครื่องมือที่เจอห่าฝนไม่ดี ทำให้เกิดสนิมจับ[10] แต่ปัญหาหลักคือค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จากโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้น นับจำนวนคนที่เสียชีวิตระหว่างการขุดคลองปานามา (ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1881 – 1889) ได้กว่า 22,000 คน[9]
จากหนังสือ Overthrow ของสตีเฟน คินเซอร์ในปี ค.ศ. 2006 ได้กล่าวไว้ว่าในปี ค.ศ. 1898 หัวหน้าคนหนึ่งในองค์การเกี่ยวกับคลองของฝรั่งเศส คือ ฟีลีป-ชอง บูโน-วารียา ได้จ้างวิลเลียม เนลสัน ครอมเวลล์ เพื่อโกงจากสภาคองเกรสของอเมริกา ที่จะสร้างคลองปานามา ไม่ใช่คลองที่ข้ามจากนิการากัว[11]
โดยสหรัฐอเมริกาได้เจรจากับรัฐบาลโคลอมเบียว่า หากสหรัฐอเมริกาลงทุนขุดคลองแล้วก็ขอให้สหรัฐอเมริกาเช่าพื้นที่บริเวณนั้นเพื่อดำเนินการควบคุมการเข้าออกของเรือที่ผ่านคลอง แต่การตกลงเรื่องราคาค่าเช่าที่ไม่ลงตัว รัฐบาลโคลอมเบียไม่ตกลงกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ซึ่งขณะนั้นชาวปานามากลัวว่าโคลอมเบียจะไม่แบ่งผลประโยชน์ให้เท่าที่พวกตนควรได้ จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นและประกาศตัวเป็นประเทศเอกราช ซึ่งสหรัฐอเมริกาเองได้รับรองการเป็นเอกราชของปานามา และยังได้ช่วยไม่ให้โคลอมเบียยกกองทหารเข้ามาปราบปรามชาวปานามา จนในที่สุดสหรัฐอเมริกาได้ทำสัญญากับปานามาในปี ค.ศ. 1903[12] โดยปานามายกกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นระยะทางกว้าง 10 กิโลเมตร ตลอดแนวทางที่สหรัฐอเมริกาจะขุดคลอง และรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ดำเนินการบริหารเป็นสิทธิขาดตลอดไป โดยสหรัฐอเมริกาจะจ่ายเงินตอบแทนให้ปานามาเป็นจำนวนเงิน 10 ล้านดอลลาร์ และจะให้เป็นประจำทุกปี อีกปีละ 250,000 ดอลลาร์[8] ส่วนสหรัฐอเมริกาก็ได้จ่ายเงินให้แก่โคลอมเบียเป็นเงิน 25 ล้านดอลล่าร์ในปี ค.ศ. 1921 และรัฐบาลโคลอมเบียรับรองความเป็นเอกราชของปานามาในสนธิสัญญาธอมสัน-อูรูเตีย
</div>
ชอบกดไลค์ ใช่กดแชร์… สนับสนุนผู้เขียนครับ 🙂